การจัดองค์ประกอบ ของภาพถ่าย 5 ประการ |
1. การประกอบภาพให้มีความลึกและทัศนมิติ | ![]() |
2. การวางตำแหน่งของจุดเด่น โดยการใช้กฏสามส่วน | |
3. การประกอบภาพด้วยเส้นและรูปทรง | |
4. ทิศทางของแสงในการถ่ายภาพ | |
5. มุมในการถ่ายภาพ |
1. การประกอบภาพให้มีความลึกและทัศนมิติ |
การประกอบภาพให้มีความลึกและทัศนมิตินั้น ง่ายๆ คือ 1. ทำหน้าภาพชัดลึก 2. ใช้วัตถุในธรรมชาติเป็นฉากหน้า |
1..1
การถ่ายภาพทิวทัศน์ในระยะไกลนั้น
ควรให้มีความชัดลึกตลอดทั้งภาพ -
ปรับโฟกัส ไปที่อินฟินิตี้ 1.2. เปิดรูรับแสงให้แคบที่สุด ( เลนส์ตัวนี้ F-22 เลนส์ตัวอื่นๆดูเอง) |
![]() ![]() |
2.
การใช้ฉากหน้าก็ทำให้ภาพเกิดมิติได้
ง่ายๆ ดี ดูภาพ 3. การกรอบภาพเป็นฉากหน้า |
![]() ![]() ![]() |
ชัดทั้งเรือ+ภูเขา ใช้กิ่งไม้เป็นฉากหน้า ใช้ถ้ำเป็นกรอบภาพ | |
2. การใช้กฏสามส่วนในการประกอบภาพและตำแหน่งวางวัตถุในภาพ |
|
ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพด้านตั้งหรือด้านนอนให้แบ่งภาพนั้นออกเป็นสาม
ส่วนทั้งด้านกว้างและด้านยาวโดยเลือกตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง |
![]() ![]() |
จากจุดตัดกันทั้ง
4 จุด
เป็นตำแหน่งในการจัดวางวัตถุที่ต้องการให้เด่นเป็น จุดสนใจของภาพ ( นางงามที่จะประกวดเลือก ตำแหน่งยืนได้เด้อ แฮ่ ล้อเล่น ) |
![]() ![]() |
3. การวางตำแหน่งเส้นแนวนอนของขอบฟ้าจะแบ่งสัดส่วนในภาพให้รู้สึกใกล้-ไกล |
|
ภาพนี้ไม่รู้สึกใกล้-ไกลเพราะเส้นแนวนอนแบ่งครึ่งภาพพื้นที่สองส่วนเท่ากัน ทำให้ภาพเสียน้ำหนักความงามไป (มิใช่ประกวดนางงามช้างนะคะร๊าบ) |
![]() ![]() |
ให้เส้นแนวนอนอยู่ต่ำกว่าระดับสายตาพื้นที่ส่วนบนมากกว่าส่วนล่างด้วยอัตราส่วน 3:1 แสดงให้เห็นถึงความกว้างใหญ่ และดูห่างไกลออกไป | ![]() ![]() |
เมื่อต้องการให้รู้สึกว่าทะเล
และท้องฟ้า อยู่ใกล้เข้ามา
ให้วางเส้นแนวนอนอยู่สูงกว่าระดับ สายตา ด้วยอัตราส่วน 3 : 1 |
![]() ![]() |
4. การประกอบภาพด้วยเส้นและรูปทรง |
|
เส้นให้ประโยชน์ในการประกอบภาพให้เกิดเรื่องราว อารมณ์ ความรู้สึกและบอกทิศทางแตกต่างกันดังนี้ |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
1.ต้องการให้เกิดความรู้สึกในแง่ความแข็งแรง | 2.ต้องการให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหวช้าๆ | 3. ต้องการให้แสดงออกถึงความงดงาม |
มั่นคง เที่ยงตรง แสดงความสำคัญของสิ่งนั้น | การหยุดพักและการหยุดนิ่ง | อ่อนช้อยและการเคลื่อนที่ไปตามลำดับ |
ให้จัดวัตถุตามแนวตั้ง | ให้จัดวัตถุตามแนวนอน( ภาพนี้ก็นอนอยู่แล้วไงเธอ) | จัดวัตถุตามแนวโค้ง |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ต้องการให้รู้สึกว่าวัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่ | ภาพนี้มีความลึกและนำสายตาได้ดีมาก | ภาพนี้ส่วนที่เป็นฉากหน้า มีขนาดใหญ่กว่าฉากหลัง |
อย่างมีทิศทางและรวดเร็ว | เกิดจากการนำเส้นทะแยงมาพบกัน | เกิดมีความลึกและมิติได้เช่นกันเกิดจากการนำเส้น |
ให้จัดวัตถุนั้นตามแนวทะแยง | เรียกว่า เส้นเอ็นทรานซ์ (ฟังชื่อนี้แล้วหนาวเล็กน้อย) | ตามแนวตั้งประกอบเส้นทะแยงตามสัดส่วน |